วารสาร

การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อ Aspergillus spp. ในผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายตับ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
Clinical Tracer

การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อ Aspergillus spp. ในผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายตับ โรงพยาบาลศรีนครินทร์

ศิริขจร พรหมศิริ, อัมรา ศิริทองสุข, สงวน บุญพูน

เชื้อรา Aspergillus species เป็นเชื้อราก่อโรคที่สำคัญของมนุษย์ มีรูปแบบการก่อโรคที่ หลากหลายขึ้นกับปฏิกิริยาระหว่างภูมิคุ้มกันของร่างกาย ตั้งแต่การเกิดภูมิคุ้มกันไวเกิน ปอดติดเชื้อ Aspergillus ชนิดเชื้อรัง จนถึงโรคติดเชื้อ Aspergillus ชนิดรุกราน...

ตุลาคม - ธันวาคม 2567
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 5 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 5 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- You'll Never Walk Alone - A Matter of Opinion - การสำรวจพุน้ำร้อนในประเทศไทย - การพัฒนาเครื่องมือ Dashboard เพื่อติดตามผลการดำเนินงานในระดับสาขาวิชา - การพัฒนาวิธีการตรวจสอบคุณสมบัติผู้ผู้รับผิดชอบหลักสูตรตามเกณฑ์การกำกับมาตรฐาน - ภาวะโภชนาการของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยพิเศษโรงพยาบาลเหนือตติยภูมิ - การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อ Aspergillus spp. ในผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายตับ โรงพยาบาลศรีนครินทร์. - เรียนท่านประธานคณะกรรมการวิสามัญพิจารณาศึกษากฎหมายและมาตรการควบคุมกำกับบุหรี่ไฟฟ้าในประเทศไทย

ตุลาคม - ธันวาคม 2567 ISSN 2697-6633
การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการเฝ้าระวังและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์
Original Article

การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการเฝ้าระวังและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์

สุดถนอม กมลเลิศ, เพชรรัตน์ บุตะเขียว, ภัทรพล คำสอนทา, สุพัฒน์ ทัพหงษา, วราลักษณ์ เย็นญา

ปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว วิทยาการด้านเทคโนโลยีและ สารสนเทศ มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตและการทำงานเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เพราะข้อมูล (data) เป็นประโยชน์โดยตรงต่อการกำหนดเป้าหมายในการทำงาน การสื่อสาร การควบคุมติดตาม และ การประเมินผลการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคการปฏิรูประบบ สุขภาพ ที่เน้นการพัฒนาข้อมูลข่าวสารและระบบเครือข่าย

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 4

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Global TB Time Bomb - Asbestos Fibers in the Lung - สารพิษที่พิจารณาเลิกใช้ - การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการเฝ้าระวังและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตกที่รับการรักษาด้วยการไม่ผ่าตัด - การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะกลืนลำบากและการดูแลสุขภาพช่องปาก - การพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูสภาพ - ใบชากับมะเร็งหลอดอาหาร ฯ

ตุลาคม - ธันวาคม 2566 ISSN 2697-6633
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

หัฏฐาภรณ์ ภูเนตร, ฐิตา เดชปัญญา, ณัฐนิชา ประวิสุทธิ์, เปมิกา วรรณศรี, วชิรวิชญ์ เจนการ, ปุณยวัจน์ จรูญเสถียรพงศ์, พีรพัศ ศรีนิล, อาคม บุญเลิศ, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์

เนื่องจากในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อีกทั้งยังส่งผล ทำให้รูปแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ถูกปรับเปลี่ยนเป็นออนไลน์และถูกจำกัดด้วย มาตรการ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
การบริหารจัดการและวางแผนการรักษา เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Special Article

การบริหารจัดการและวางแผนการรักษา เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สายสมร พลดงนอก, สมศักดิ์ เทียมเก่า

จากสถานการณ์การระบาดของโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนตั้งแต่ช่วงเดือนพฤศจิกายน 2562 ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้ จัดทำ หนังสือแจ้งเตือนมายังทุกโรงพยาบาลเพื่อดำ เนินการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค ซึ่ง ขณะนั้นยังเรียกว่าโรคปอดอักเสบจากเชื้อที่ระบาดในเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน...

กรกฎาคม - กันยายน 2563
ผลการติดตามอาการภายหลังเดินทางกลับจากประเทศที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Routine To Research

ผลการติดตามอาการภายหลังเดินทางกลับจากประเทศที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สายสมร พลดงนอก, จันจิราภรณ์ วิชัย, พจนีย์ ขันศรีมนต์, ประกาย พิทักษ์, เมริษา สุทธาธิวงษ์1, สมศักดิ์ เทียมเก่า

การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่แพร่กระจายทุกทวีปทั่วโลก กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดมาตรการป้องกันและควบคุมการ แพร่ระบาดของโรค COVID-19 ที่สำคัญอย่างหนึ่ง คือ การเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางไปพื้นที่ที่ มีการระบาดของโรคและติดตามอาการภายหลังการเดินทางกลับเป็นระยะเวลา 14 วัน การศึกษา นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอาการ...

กรกฎาคม - กันยายน 2563
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 3

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่มารักษาของผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดเอสยก, การพัฒนาแอพพลิเคชั่นการเลี้ยงทารกปากแหว่งเพดานโหว่ด้วยนํ้านมมารดา, การออกแบบการวิจัยที่ตอบโจทย์การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research, ผลการติดตามอาการภายหลังเดินทางกลับจากประเทศที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ลดความเสี่ยง เลี่ยงโควิด 19 : ส่งยาถึงบ้าน, การบริหารจัดการและวางแผนการรักษา เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงพยาบาลศรีนครินทร์, Digital Health, เพื่อสถาบันปราชญ์

กรกฎาคม - กันยายน 2563 ISSN 2697-6633
สัดส่วนนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความรู้เพียงพอเกี่ยวกับระบาดวิทยาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)
Original Article

สัดส่วนนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความรู้เพียงพอเกี่ยวกับระบาดวิทยาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19)

ณัฐวรา แสงวิจิตร, ชวัลวิทย์ อยู่วิทยา, ภัทรพล ขำดี, สิรวิชญ์ วรรณศรี, ก้องเกียรติ กองกาญจนะ, ชญานิศ โรจนศักดิ์โสธร, ปิยลักษณ์ ห้าวหาญ, สุชาดา ภัยหลีกลี้, ศิรินทิพย์ บุญจรัสภิญโญ

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) เป็นโรคอุบัติใหม่ที่ระบาดในหลายพื้นที่ทั่วโลก นักศึกษาแพทย์ควรมีความรู้ในการเฝ้าระวังและ รายงานโรคตามเกณฑ์ที่แพทยสภากำหนดเพื่อจัดการด้านระบาดวิทยาอย่างมีประสิทธิภาพ การ ศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสัดส่วนนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีความรู้เพียง พอเกี่ยวกับระบาดวิทยาและความรู้ทั่วไปของโรค COVID-19

เมษายน - มิถุนายน 2563

ผู้เขียน

Somchai Bovornkitti Somsak Tiamkao สุนทราพร วันสุพงศ์ พรเพียร วชิราเจียรนนท์ ณัฐวรรณ นามวงศ์พิสุทธิ์ จักรกฤษ วงชมภู ปฏิภาณ โทอินทร์ ปาณัสม์ พัฒน์ดำรงจิตร รัฐกานต์ ศรีหาคลัง นภัสสร ตัณฑ์กำเนิด วนัชพร ทิพย์โยธา วริสรา ลุวีระ บังอรศรี จินดาวงค์ สมชัย บวรกิตติ สมชัย บวรกิตติ สายสมร พลดงนอก สมศักดิ์ เทียมเก่า ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า รังสรรค์ ปุษปาคม ณัชชนก คำพิทักษ์ พนิตา ค้าขาย ธิดามาศ อภิธรรมบัณฑิต สุธาสินี เหล่าศักดิ์ชัย ณัฐวัฒน์ มณีเติม จิตรทิวา คำจริง อาคม บุญเลิศ กัลยา อารยางค์กูร วิลาวัณย์ อุ่นเรือน ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์ จันทนา ผางโคกสูง อนุพล พาณิชย์โชติ