วารสาร

ศัพท์สับสน: Long COVID-19 และ Long-COVID-19
จดหมายถึงบรรณาธิการ

ศัพท์สับสน: Long COVID-19 และ Long-COVID-19

สมชัย บวรกิตติ พ.ด., Hon.MRCP, FRCP, FRACP, Hon.FACP

องค์การอนามัยโลกตั้งซื่อโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส ที่พบในเมืองวูฮัน ประเทศจีน เมื่อ ค.ศ. ๒๐๑๙ ว่า coronavirus disease-2019 ใช้ชื่อย่อว่า COVID-19 กรณีผู้ป่วย COVID-19 รายที่การดำเนินโรคยืดเยื้อกว่ารายทั่วไป ที่อาจเกิดจากมีสาเหตุร่วม จะเรียกโดยภาษาทั่วไปว่า Long COVID-19 แต่ได้พบว่ามีการดำเนินโรคอีกแบบหนึ่งที่ เรียกว่า Post-COVID-19 syndrome หรือ Long-COVID -19...

เมษายน - มิถุนายน 2568
ผลของการพัฒนาโปรแกรมการบริหารปอดผ่านแอปพลิเคชันไลน์ ในผู้ที่เคยติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019
Original Article

ผลของการพัฒนาโปรแกรมการบริหารปอดผ่านแอปพลิเคชันไลน์ ในผู้ที่เคยติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019

สุชญา พันศิริ, สุปรียา ราชสีห์, กฤษฏา พันธ์เดช,ปริญญาพร มะธิปะโน, มณีพรรณ์ เหล่าโพธิ์ศรี, นันทพร จิตพิมลมาศ

สถานการณ์การระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส 2019 ระลอก 3 มีความรุนแรงกว่าที่ผ่านๆมา ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตแต่ละวันเป็นจำนวนมาก กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัวเกี่ยวกับปอด เช่น โรคปอด หอบหืด รวมทั้งผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคอ้วน ยังคงเป็นกลุ่มเสี่ยงลำดับต้นๆ...

เมษายน - มิถุนายน 2567
Long-COVID
จดหมายถึงบรรณาธิการ

Long-COVID

รังสรรค์ ปุษปาคม

ผมได้มีโอกาสอ่านบทความ Long-COVID ที่ลงพิมพ์อยู่ในวารสารโรงพยาบาล มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับเดือนมกราคม-มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ (ปีที่ ๔) หน้า ๗๘-๗๙ ทำให้ เข้าใจการดำเนินโรคของโควิด-๑๙ ดีขึ้น

กรกฎาคม - กันยายน 2566
การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์ แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam
Original Article

การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 ปีการศึกษา 2564 ที่เข้าสอบรวบยอดวิทยาศาสตร์การแพทย์ แบบออนไลน์ บนเว็บไซต์ KKU Exam

สมปอง จันทะคราม, สวลี แก่นเชียงสา

จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 (COVID-19) ที่เป็นการระบาดใหญ่ โดย เริ่มจากประเทศจีนเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2562 ต่อมาได้พบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศทั่วโลก และองค์การอนามัยโลกได้ประกาศโรค COVID-19 เป็นโรคระบาดที่มีจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิต จำนวนมาก จากสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียน การสอน...

เมษายน - มิถุนายน 2566
Long-COVID
Letter to the Editor

Long-COVID

Somchai Bovornkitti

Most lay- or non-medical individuals would interpret the term ‘Long-COVID’ as referring to the lingering symptoms or extended manifestations over a period of time longer than normal of the disease caused by the severe acute respiratory syndrome coronavirus 2 (SARS-CoV-2).

มกราคม - มีนาคม 2566
สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19

ณัฐธวัช งามอุโฆษ, ธัญชนก บุษปฤกษ์, รัชพล โอกาศเจริญ, ศิรกาญจน์ ภัทรากรทวีวงศ์, สุธิดา นำชัยทศพล, ภูวิศ สิทธิโชติวงศ์, ปฤษฎี ธนพงศ์เดชะ, พรปวีณ์ พฤกษ์ปิติกุล, พรรษ โนนจุ้ย

มกราคม - มีนาคม 2566
Vaccination Strategy for COVID-19
Editorial

Vaccination Strategy for COVID-19

Somchai Bovornkitti, Somsak Tiamkao

The main measure for combating the ongoing pandemic is to develop vaccines to create specific immunity to the severe acute respiratory syndrome coronavirus 2 (SARS-CoV-2), which causes coronavirus disease 2019 (COVID-19), in order to stop its transmission.

มกราคม - มีนาคม 2566
วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 4 ฉบับที่ 1

วารสารโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- Vaccination Strategy for COVID-19 - ใบชากับมะเร็งหลอดอาหาร - Health Concern in Electronic Cigare - สัดส่วนของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มีอาการทางกาย ที่เข้าได้กับผลกระทบ ระยะยาวหลังการเป็นโควิด-19 - ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา MD 534 123 วิทยาศาสตร์คลินิกขั้นแนะนำ 2 ของ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา พ.ศ. 2565 - ผลการใช้โปรแกรมลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อความรู้เกี่ยวกับเอชไอวี ถุงยางอนามัย และทัศนคติเกี่ยวกับถุงยางอนามัย ในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย - ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมระยะท้ายที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง - ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติในการดูแลความเศร้าโศกจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ในสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

มกราคม - มีนาคม 2566 ISSN 2697-6633
พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

พฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ของนักศึกษาแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สิทธิทัศน์ เบญจปฐมรงค์, ราชสาส์น สมานจิตต์, วิทวัช ฉัตรธนาธรรม, พิมรพี ปัญญานนทชัย, มะลิ มณีรัตน์, ศุภญาณกร วัฒนธร, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์, พรรษ โนนจุ้ย

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คือ โรคติดต่อที่มีการค้นพบครั้งแรกที่อู่ฮั่น ประเทศจีน โดยส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่านการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อผ่านทางละอองเสมหะจากการไอ จาม น้ำมูก น้ำลาย การหายใจร่วมกับผู้ติดเชื้อที่อยู่บริเวณใกล้เคียง และการสัมผัสตา จมูก ปาก ด้วยมือที่มีเชื้ออยู่...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Original Article

สัดส่วนของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มีความมั่นใจในการทำหัตถการทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

หัฏฐาภรณ์ ภูเนตร, ฐิตา เดชปัญญา, ณัฐนิชา ประวิสุทธิ์, เปมิกา วรรณศรี, วชิรวิชญ์ เจนการ, ปุณยวัจน์ จรูญเสถียรพงศ์, พีรพัศ ศรีนิล, อาคม บุญเลิศ, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์

เนื่องจากในสถานการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อีกทั้งยังส่งผล ทำให้รูปแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ถูกปรับเปลี่ยนเป็นออนไลน์และถูกจำกัดด้วย มาตรการ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565